เวลาจะรับประทานต้องแคะออกมา เป็นแผ่นวงกลม แล้วมักวางประกบกันตอนรับประทาน เป็นขนมของไทยที่มีมาตั้งแต่โบราณ นอกจากนี้ยังพบในพม่า ลาว และอินโดนีเซีย โดยชาวอินโดนีเซียเรียกว่าเซอราบี (serabi)
มีหลักฐานว่าขนมครกเป็นที่นิยมแพร่หลายมาตั้งแต่สมัยอยุธยา มีการทำเตาขนมครกขายตั้งแต่ยุคนั้น ขนมครกแต่เดิมใช้ข้าวเจ้าแช่น้ำ โม่รวมกับหางกะทิ ข้าวสวย และมะพร้าวทึนทึกขูดฝอย ผสมเกลือเล็กน้อยใช้เป็นตัวขนม
ส่วนหน้าของขนมครกเป็นหัวกะทิ ขนมครกชาววังจะมีการดัดแปลงหน้าขนมครกให้แปลกไปอีก เช่น หน้ากุ้ง (แบบเดียวกับข้าวเหนียวหน้ากุ้ง) หน้าไข่ หน้าหมู (แบบเดียวกับไส้ปั้นสิบ) หน้าเผือก หน้าข้าวโพด หน้าต้นหอม
ประเภทของขนมครก
ขนมครกมอญเป็นขนมเก่าแก่ของชาวมอญ ปัจจุบันเหลือที่ชุมชนมอญตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีเพียงแห่งเดียว ใช้ข้าวเหนียวดิบแช่น้ำจนชุ่มมาละเลงในเบ้าขนมครก ไส้เป็นมะพร้าวทึนทึกขูด น้ำตาลทรายและงาคั่ว เคล้าให้เข้ากัน
ขนมครกชาววัง
เป็นขนมครกที่เทแป้งลงในเบ้าให้ติดๆกัน และมีหน้าหยอดหลากหลาย เช่น เผือก มัน ฝอยทอง ฯลฯ เวลาสุกจะร่อนออกมา แล้วจึงตัดแบ่งออกรับประทาน
2. เนื้อด้านในไม่เป็นน้ำ หรือ ไหลเยิ้ม
3. ให้กลิ่นหอมของใบพืช และน้ำกะทิ
4. ให้รสหวานของน้ำตาลพอประมาณ และไม่ควรหวานมาก
5. ให้รสมันของกะทิ
2. แป้งเท้ายายม่อม 1 ถ้วย
3. แป้งมันสำปะหลัง 1 ถ้วย
4. น้ำปูนใส 1 ถ้วย
5. น้ำตาลทราย 200-250 กรัม
6. น้ำหางกะทิ 1 ถ้วย
7. น้ำลอยดอกมะลิ 1 ถ้วย
8. เกลือป่น 10 กรัม
2. น้ำหัวกะทิ 1 ถ้วย
3. เกลือป่น 5 กรัม
ขนมครกที่น่ารับประทาน
1. เนื้อสัมผัสด้านนอกแห้ง ไม่เกรียมไหม้ อาจกรอบ แต่ไม่ควรแข็ง ส่วนเนื้อสัมผัสด้านในนุ่ม และจับตัวเป็นก้อนดี2. เนื้อด้านในไม่เป็นน้ำ หรือ ไหลเยิ้ม
3. ให้กลิ่นหอมของใบพืช และน้ำกะทิ
4. ให้รสหวานของน้ำตาลพอประมาณ และไม่ควรหวานมาก
5. ให้รสมันของกะทิ
ส่วนผสม และปริมาณที่ใช้ของตัวขนมครก
1. แป้งข้าวเจ้า 2 ถ้วย2. แป้งเท้ายายม่อม 1 ถ้วย
3. แป้งมันสำปะหลัง 1 ถ้วย
4. น้ำปูนใส 1 ถ้วย
5. น้ำตาลทราย 200-250 กรัม
6. น้ำหางกะทิ 1 ถ้วย
7. น้ำลอยดอกมะลิ 1 ถ้วย
8. เกลือป่น 10 กรัม
ส่วนผสม และปริมาณที่ใช้ของหน้าขนมครก
1. แป้งเท้ายายม่อม 1 ถ้วย2. น้ำหัวกะทิ 1 ถ้วย
3. เกลือป่น 5 กรัม
No comments:
Post a Comment